healthy@nasameng

วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ตัวชี้วัดการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

๑. มีระบบขอมูลสุขภาพผูป่วยในพื้นที่ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่างรพ.สต.กับโรงพยาบาลแม่ข่ายได้
๒. อัตราส)วนการใชบริการผูป่วยนอกของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบที่ใชบริการที่รพสต.เทียบกับรพแม่ข่าย มากกว่า ๖๐:๔๐
๓. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่ รพ.สต.เพิ่มขึ้น (รอยละ ๑๐ เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาล โดยการย้ายผู้ป่วยโรคเรื้อรังจากโรงพยาบาลแม่ข่ายไปสู่ รพ.สต.
๔. มีบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคพื้นฐานได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน เช่น EPI, ANC, Pap smear, คัดกรองโรคเรื้อรัง
๕. ร้อยละของประชากรในทะเบียนกลุ่มที่ตองการดูแลพิเศษ เช่น ผู้ป่วย Palliative care ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยโรคเอดส์   ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยวัณโรค ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และโรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านตามมาตรฐานการใหบริการ (ร้อยละ ๘๐)
๖. ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้แบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ(ของกองสุขศึกษา) เป็นเครื่องมือ และมี อสม.เป็นพี่เลี้ยง ร้อยละ ๖๐
สำหรับศูนย(สุขภาพชุมชนเมือง)
๑. ให้ รพศ. รพท. ดำเนินการพัฒนาศูนย์ได้ตามเป้าหมาย (รพศ. อย่างน้อย ๓ แห่ง รพท. อย่าง น้อย ๒ แห่ง ภายใน ๖๐ วัน
๒. ที่มีศูนย์ ฯ ตามเกณฑ์แล้วให้ใช้ตัวชี้วัดเช่นกับรพสต.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น